โรคกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน (osteoporosis) คือ โรคกระดูกชนิดหนึ่งที่มีการสลายของเนื้อกระดูก เกิดการเสียหาย การเสื่อมและบางลงของกระดูก เนื่องจากความหนาแน่นของมวลกระดูกลดลง การสูญเสียแคลเซียม แร่ธาตุที่สำคัญของการสร้างและความเสื่อมสภาพของกระดูกเนื้อเยื่อ โรคนี้จะไม่แสดงอาการเจ็บปวดนอกจากมีความเสี่ยงต่อการแตกหักของกระดูกที่ง่ายขึ้น เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะกระดูกหักหรือกระดูกสันหลังผิดรูปในผู้สูงอายุ โรคกระดูพรุนพบมากในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน และสามารถพบได้ในเพศชายเช่นกัน แต่พบได้น้อยกว่าในเพศหญิง มีปัจจัยเสี่ยงจากการเกิดโรคพิษสุราเรื้อรังและการขาดฮอร์โมนเพศชาย การผลิตฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนลดลง

สาเหตุของโรคกระดูกพรุน
โรคกระดูกพรุนเกิดจากกลไกลการทำงานที่ไม่สมดุลกันของเซลล์สร้างกระดูกและเซลล์การสลายของกระดูก  การสูญเสียแคลเซียม การเสื่อมสภาพของเนื้อเยื่อและเซลล์ ทำให้มีการสลายกระดูกมากกว่าการสร้างกระดูก  ซึ่งการเสียสมดุลดังกล่าวเกิดได้จากหลายปัจจัย ดังนี้

  • อายุที่มากขึ้น โดยเมื่ออายุมากกว่า 50 ปี กระดูกจะบางลงในทุกปี เนื่องจากกระบวนการเจริญเติบโตของเซลล์สร้างเนื้อเยื่อและกระดูกลดลง แต่กลับกันการเสื่อมสลายมีเพิ่มขึ้นขาดการสมดุลของร่างกาย ปริมาณแคลเซียมในร่างกายมีไม่เพียงพอต่อการสร้างเซลล์ของกระดูก
  • สตรีวัยหมดประจำเดือน เนื่องจากการขาดฮอร์โมนเอสโตรเจนจากภาวการณ์หมดประจำเดือนในผู้หญิง ซึ่งมีอัตราการเร่งการเสื่อมสลายของเซลล์กระดูก เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยของการเกิดโรคกระดูกพรุน ร้อยละ 25 ของสตรีอายุมากกว่า 60 ปี
  • กรรมพันธุ์ พบประวัติผู้ป่วยที่คนภายในครอบครัวทางสายเลือดเป็นโรคกระดูพรุน มีความเสี่ยงที่จะได้รับพันธุกรรมดังกล่าวเช่นกัน
  • ขาดสารอาหาร แร่ธาตุและวิตามิน อิทิ เช่น แคลเซียม โปรตีน แมกนีเซียม และวิตามินดี ซึ่งจำเป็นต่อร่างกายในกระบวนการเสริมสร้างมวลกระดูก
  • การรักษาอาการเจ็บป่วย การใช้ยาบางชนิดเป็นประจำ ซึ่งผู้ป่วยที่ต้องใช้ยารักษานี้เป็นเวลานาน เช่น ยาสเตียรอย์ ส่งผมต่อการดูดซึมแคลเซียมในลำไส้และเร่งการขับแคลเซียมออกจากร่างกาย ยาเฮพาริน ยาขับปัสสาวะ หรือการใช้ฮอร์โมนไทรอยมากเกินไป ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกพรุน เนื่องจากยาบางชนิดมีฤทธิ์รบกวนกระบวนการเสริมสร้างของเนื้อเยื่อและมวลกระดูก
  • การใช้ชีวิตประจำวัน หรือการที่ต้องอยู่อิริยาบถใดๆ เป็นเวลานาน หรือการใช้ร่างกายที่หักโหมเกินไป ล้วนส่งผลต่อการทำสลายเซลล์กระดูกทั้งสิ้น หรือการขาดการออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวร่างกายน้อย รวมถึงผู้ป่วยพิการ ผู้สูงอายุ ที่นอนติดเตียงตลอดเวลา เป็นต้น
  • การบริโภคสารอาหารที่ทำให้เสียสมดุลของแคลเซียมในกระบวนการเสริมสร้างกระดูก เช่นอาการจำพวกโปรตีนจากเนื้อสัตว์ที่มีความเป็นกรดสูง ชา กาแฟ  น้ำอัดลม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทำให้ความสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัสเสียไป รวมถึงการสูบบุหรี่ติดต่อกับเป็นจำนวนมากและเป็นเวลานาน ซึ่งทำให้ฮอร์โมนเอสโตรเจนในเลือดลดลง ทำให้ร่างกายมีภาวการณ์เป็นกรด ส่งผลต่อการเสื่อมสภาพของมวลกระดูก
  • โรคต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อกระดูก เช่น โรคต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน(ต่อมไทรอย์เป็นพิษ) โรคเนื้องอกของต่อมใต้สมอง โรคเกี่ยวกับตับและไต โรคตับเรื้อรัง โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร กรดไหลย้อน โรคปวดข้ออักเสบรูมาตอยด์  โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งเต้านม และมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ภาวการณ์ขาดสารอาหาร แคลเซียม การขาดแร่ธาตุและวิตามินที่จำเป็นต่อการเสริมสร้างกระดูก

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน

  • ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป
  • ชาวผิวขาวหรือเชื้อชาติชาวเอเชีย
  • พันธุกรรม ซึ่งพบว่าส่งผลต่อค่าเฉลี่ยมวลกระดูกสูงสุดถึง 80%
  • ผู้หญิงที่เข้าสู่วัยหมดประจำเดือน เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลงทำให้เซลล์กระดูกลดลงตามไปด้วย
  • ภาวการณ์ขาดสารอาหาร แคลเซียม โปรตีน และวิตามินดี ซึ่งมีส่วนช่วยในการสร้างสร้างของเซลล์กระดูก
  • การใช้ยาบางชนิดเป็นประจำ เนื่องจากยาบางชนิดส่งผลต่อการทำลายกระดูก ซึ่งหากจำเป็นต้องใช้ยาเหล่านี้เป็นเวลานานควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา
  • การดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน น้ำอัดลม หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เป็นประจำ
  • สูบบุหรี่ในปริมาณมากและเป็นเวลานาน
  • การลดน้ำหนักอย่างรวดเร็ว เนื่องจากโหมออกกำลังกาย หรือการอดอาหาร ส่งผลต่อความหนาแน่นของมวลกระดูก
  • การบริโภคอาหารประเภทโปรตีนหรือเนื้อสัตว์มากเกินความจำเป็น ทำให้กระตุ้นให้ไตมีการขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะมากผิดปกติ การรับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด อาหารที่มีโซเดียมสูง ทำให้การดูดซึมแคลเซียมของลำไส้ลดน้อยลงและเพิ่มการขับแคลเซียมทางไตมากขึ้น
  • โรคเรื้อรังต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน

อาการของโรคกระดูกพรุน ไม่แสดงอาการใดๆ เว้นแต่มีเสี่ยงต่อการแตกหักกระดูกได้ง่ายแม้จะเป็นอุบัติเหตุที่ไม่รุนแรง เช่น กระดูกซี่โครงหักจากการไอหรือจาม กระดูกหักจาการก้มหยิบหรือยกสิ่งของ เป็นต้น

การป้องกันการเกิดโรคกระดูกพรุน คือ การเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงข้างต้น เช่น การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ น้ำอัดลม การสูบบุรี่ การเลือกรับประทานอาหารให้ครบทุกหมู่ โดยเฉพาะแคลเซียมและวิตามินดี การเลือกรับประทานอาหารเสริมที่มีส่วนผสมของ นมผึ้ง (Royal Jelly) ช่วยเสริมสร้างกระดูกป้องกันการเกิดโรคกระดูพรุนได้่ ร่วมกับการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน เช่น สตรีวัยหมดประจำเดือน ผู้สูงอายุ ฯลฯ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจกรองโรคกระดูกพรุน

การรักษาโรคกระดูกพรุน เนื่องจากการเกิดภาวะกระดูเสื่อมหรือโรคกระดูกพรุนเกิดขึ้นด้วยหลายปัจจัย ดังนั้นวิธีการรักษา หรือการกระตุ้นกระบวนการทำงานของเซลล์กระดูก และลดการทำงานของการสลาย การเสื่อมสภาพของกระดูก มีความแตกต่างกันตามความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย

 

  • https://acteaweb.org/bet400/
  • https://acteaweb.org/pulsa/
  • https://journal.literasihukum.com/mahjong/
  • https://journal.literasihukum.com/qris/
  • https://bandar168.store/
  • https://www.giathinhphatinterior.com/
  • https://www.okethelabel.com/
  • https://journal.moseskotaneinstitute.com/nas/liga367-pola-rtp/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/sj/
  • https://international.unitomo.ac.id/wp-content/languages/hl/
  • https://bpm.unitomo.ac.id/wp-content/uploads/yi/
  • https://library.stieppi.ac.id/stam/
  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/slsa/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/sris/
  • https://jurnal.fpok.upgripnk.ac.id/public/sloto/
  • https://ejournalperawat.poltekkes-kaltim.ac.id/sesmi/
  • https://library.stieppi.ac.id/xthailand/
  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/xmahjong/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/xpulsa/
  • https://jurnal.fpok.ikippgriptk.ac.id/public/xqris/
  • https://ejournalperawat.poltekkes-kaltim.ac.id/xdana/
  • https://sumateraconnect.or.id
  • https://pt-ads.co.id/
  • https://bandungprecast.com/
  • https://jasaaspalhotmixbandung.my.id/
  • https://tjvs.tu.edu.iq/
  • https://ojs.al-adab-journal.com/
  • https://insightfuljournals.com/
  • https://interaction.id/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sthailand/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/smahjong//
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xthailand/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xmahjong/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/slqris/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/schitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/scahitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/slopulsa/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sloqris/
  • stmedj.com
  • inmovil.org
  • journal.fisil.ubhara.ac.id
  • https://egyptscholars.org//
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot
  • https://egyptscholars.org/slot-thailand/
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot/
  • Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot Maxwin
  • https://v2.stieputrabangsa.ac.id/nity/
  • https://siakad-pben.unida-aceh.ac.id/infy/
  • https://ct.pt-sultra.go.id/site/
  • https://ct.pn-probolinggo.go.id/file/
  • https://sipp.pa-bawean.go.id/site/