ประโยชน์ของนมผึ้ง

ประโยชน์ของ “นมผึ้ง”

Royal jelly หรือคนทั่วไปเรียกว่า “นมผึ้ง” เป็นสารอาหารสำหรับราชินีผึ้งและตัวอ่อนของผึ้ง จะมีลักษณะเป็นสีขาวคล้ายกับนมข้นหวาน มีกลิ่นออกเปรี้ยวๆ มีรสชาติเผ็ดติดปลายลิ้นเล็กน้อย นมผึ้งผลิตจากต่อมบริเวณส่วนหัวของตัวผึ้งงานโดยในช่วง อายุ 7-15 วัน ตัวอ่อนที่เจริญเติบโตเป็นนางพญาได้รับนมผึ้งมากเป็นพิเศษ และจะได้ตลอดจดหมดอายุขัยของมัน เราจะสังเกตุเห็นได้ว่านางพญาของผึ้งจะมีขนาดตัวใหญ่กว่า มีอายุยืนยาวกว่าผึ้งงานมากว่า 10-20 เท่า และมีลักษณะสวยงามกว่าผึ้งชนิดอื่น ๆ เพราะในนมผึ้งจะอุดมไปด้วยสารอาหารสำคัญมากมาย เช่น วิตามิน A,B complex,C,E,กรดโฟลิก วิตามินเอช หรือเอนไซม์อาร์ และมีคุณค่าทางอาหารและยาอื่นๆสูง นมผึ้งจึงเป็นสิ่งที่หายากผลิตได้น้อย และมีความต้องการของเภสัชอุตสาหกรรมสูง ในนมผึ้งจะมีสารที่เรียกว่า สารไอโนซิลทอล (Inositol) ที่จะช่วยลดอาการอ่อนเพลียของร่างกาย อีกทั้งนมผึ้งยังจะช่วยในการต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยสลายมันที่ตกค้างภายในตับ ลดโคเลสตอรอลในเส้นเลือด ลดอาการตึงเครียด เพิ่มประสิทธิภาพของเม็ดเลือดแดงให้มีการดูดซึมอาหารและออกซิเจนได้ดี เพิ่มประสิทธิภาพในการขับถ่ายของเสียและคาร์บอนไดออกไซต์ ช่วยการปรับสมดุลของฮอร์โมนของเพศชายและเพศหญิง เพิ่มมวลความหนาแน่นให้กระดูกให้มีความแข็งแรงมากขึ้น กระตุ้นให้ร่างกายเร่งการผลิตเม็ดเลือดแดงให้ดียิ่ง ช่วยให้ร่างกายกระตุ้นการดูดซับอาหารและออกซิเจนในการไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ช่วยให้การทำงานของหัวใจเป็นปกติ สูบฉีดเลือดให้ส่วนต่างๆ เช่น สมอง ปอด ตับ ไต และแขน ขา ได้ดียิ่งขึ้น ในวัยผู้สูงอายุ และผู้ที่ไม่แข็งแรงไม่สบาย นมผึ้งจะช่วยให้เพิ่มความอบอุ่นและความสดชื่น ไม่เพียงเท่านั้น นมผึ้งช่วยในการป้องกันการเกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว รวมทั้งมะเร็งต่อมน้ำเหลือง เพราะในนมผึ้งจะมีสารเปปไทม์ (Peptide) จะออกฤทธิ์คล้ายกับสารอินซูลิน ที่จะทำหน้าที่ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดสูง และจะลดอาการอักเสบของเนื้อเยื้อและข้อต่างๆ ของร่างกาย

ผลทางชีวภาพของนมผึ้งพบว่า กระบวนการระบบการทำงานของนมผึ้งหรือโรเย็ลเจลลี่โดยธรรมชาติของมันเอง มีผลดีสอดคล้องต่อความต้องการของร่างกาย มนุษย์โดยไม่สะสมไขมัน ดังนี้

  1. กระตุ้นทางชีวภาพ เพิ่มอัตราการดูดซึมอาหาร /เพิ่มออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง เพิ่มอัตราการถ่ายคาร์บอนไดออกไซต์และของเสียอื่นๆ จากร่างกาย ถ้าหากรับบริโภคนมผึ้งเป็นประจำ (ก่อนนอน) จะช่วยให้เราซ่อมแซมร่างกายในส่วนที่สึกหรอ และเพิ่มพลังงานให้มีความสดชื่น รองรับการทำงานหนักของร่างกายในแต่ละวัน แต่ในกรณีที่ร่างกายของเรามีสภาพเสื่อมโทรมแบบเรื้อรัง แนะนำให้บริโภคนมผึ้งก่อนอาหาร 30 นาที ในทุกๆ มื้อ จะช่วยในการกระตุ้นการอยากอาหารให้ดียิ่งขึ้น ไม่เพียงเท่านั้นยังช่วยกระตุ้นการเผาผลาญพลังงานของร่างกายได้ดี
  2. การส่งผลต่อฮอร์โมนเพศ ในสารที่อยู่ในนมผึ้งยังมีสารที่ไปกระตุ้นการทำงานของฮอร์โมนเพศ ซึ่งจะไปช่วยการปรับฮอร์โมนเพศชายและหญิงให้มีความสมดุล ช่วยปรับสภาพและกระตุ้นการสร้างสเปริ์มให้กับเพศชาย ช่วยเร่างการสุขของไข่ในเพศหญิงให้ดีขึ้นและสมบูรณ์ ปรับการเกิดของประจำเดือนให้คงที่ และลดการหมดของประจำเดือนให้ช้าลง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ จะช่วยให้ทั้งเพศชายและหญิงคงความอ่อนเยาว์ได้นานกว่าคนทั่วไปถึง 20% โดยเฉพาะเพศชายจะช่วยให้เพิ่มสมรรถภาพทางเพศให้ยาวนานยิ่งขึ้น
  3. ส่งผลต่อการสร้างเม็ดเลือด และเพิ่มความแข็งแรงกระดูก นมผึ้งยังช่วยในการกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงให้มีความสมบูรณ์และแข็งแรง และยังสามารถเพิ่มมวลของกระดูกจากที่เสื่อมสภาพ กลับมาให้แข็งแรงอีกครั้ง โดยเฉพาะในเด็กที่เริ่มการเจริญเติบโตอยู่ในช่วงการสร้างส่วนต่างๆของร่างกาย และในผู้สูงวัยที่มีความเสื่อมสภาพของกระดูก ลดภาวะการเกิดโรคกระดูกพรุน อีกทั้งยังช่วยให้การดูดซึมอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายทำงานอย่างปกติ
  4. ผลต่อระบบหมุนเวียนโลหิต การไหลเวียนของเลือด นมผึ้งก็มีส่วนในการทำงานของเลือดดี และปกติ เช่น ช่วยให้การทำงานของหัวใจเต้นเป็นปกติอย่างสม่ำเสมอ พร้อมต่อการสูบฉีดเลือดเพื่อไปหมุนเวียน ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น สมอง ปอด ตับ ไต แขนและขา ได้อย่างปกติ
  5. ผลต่อเม็ดเลือดขาว นมผึ้งจะช่วยไปกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดขาว เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันให้ทำงานได้ดียิ่งขึ้น เพิ่มความต้านทานการเกิดโรคต่าง และช่วยในเพิ่มประสิทธิภาพในการช่วยให้ร่างกายรักษาตัวเองเร็วขึ้น ภายหลังเมื่อร่างกายเกิดการเจ็บป่วยขึ้นให้กลับมาแข็งแรงเหมือนเดิม และยังฟื้นฟูสมรรถภาพของเนื้อเยื่อต่างๆ
  6. ผลต่อระบบการสร้างเมตาโบลิซึม ในนมผึ้งยังช่วยในการปรับเมตาโบลึซึมให้ทำงานปกติ ให้การควบคุมการเก็บน้ำตาล โปรตีน และไขมันที่อยู่ในเลือด นำออกมาใข้งานอย่างสมดุล สม่ำเสมอ และยังปรับการควบคุมแร่ธาตุและอิเล็คโทรไลท์ ในเม็ดเลือดในการช่วยการทำงานของกล้ามเนื้อและประสาท ให้ทำงานเป็นปกติ และสม่ำเสมอ
  7. ผลต่อการสร้างเซลล์ใหม่และเนื้อเยื้อใหม่ ในการควยคุมการสร้างเซลล์และเนื้อเยื้อที่ฉีกขาด หรือการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ให้กลับมาสมบูรณ์เหมือนเดิม การขจัดเซลล์เก่าที่เสื่อมตามสภาพ การป้องกันการผลิตเซลล์ที่ผิดปกติ เช่น การเกิดมะเร็ง ก็เป็นอีกสรรพคุณที่ได้จากสารที่อยู่ในนมผึ้ง
  8. ผลต่อการลดการอักเสบของข้อและเนื้อเยื้อต่างๆ นมผึ้งเมื่อเราบริโภคไปแล้ว จะมีลักษณะการออกฤทธิ์เมื่อเรารับประทานยาสเตียรอลด์ แต่ในนมผึ้งจะไม่เป็นอันตรายหรือมีผลข้างเคียง แต่อย่างใด แถมยังได้ผลดีมากว่าอีกด้วย ซึ่งทางการแพทย์ก็ยังนำไปส่วนผสมของยาต่างๆ ในการรักษาต่างๆ เช่น การลดการอักเสบของแผล หรือรักษาการปวดข้อ และการปวดกระดูกแบบเรื้อรัง
  9. ผลต่อการเพิ่มความอ่อนเยาว์และการลดการเสื่อมสภาพของเซลล์เจริญเติมโต นมผึ้ง ก็เปรียบเสมือนยาอายุวัฒนะ ที่ช่วยในการยืดอายุให้ยาวขึ้น เพราะในนมผึ้งจะช่วยในการกระตุ้นการสร้างเซลล์การเจริญเติมโต และในขณะเดียวกันก็ยังช่วยในการซ่อมเซลล์ที่เสื่อมสภาพให้กลับมาทำงานปกติ จึงทำให้ลดการเสื่อมสภาพเซลล์ต่างๆ ทำให้ยืดอายุให้อยู่ได้นานกว่าปกติ “นมผึ้งมีความจำเป็นต่อผู้สูงอายุมาก เพราะในนมผึ้งจะมีสรรพคุณ ในการช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกรอต่างๆในร่างกาย”
  • https://simpkb.sragenkab.go.id/thumbnail_images/sh/
  • https://conference.eka-prasetya.ac.id/
  • https://conference.eka-prasetya.ac.id/gacor/
  • https://www.mpi.staiduba.ac.id/
  • https://www.stikeshangtuah-sby.ac.id/sv/
  • https://eka-prasetya.ac.id/site/
  • https://eka-prasetya.ac.id/
  • https://pai.stainupwr.ac.id/
  • https://pps.alkhoziny.ac.id/
  • https://siakad.eka-prasetya.ac.id/qris/
  • https://member.ukmpenelitianuny.id/maxwin/
  • https://oned.iaincurup.ac.id/maxwin/
  • https://penerbitan.unisba.ac.id/
  • https://lpm.stainupwr.ac.id/
  • https://e-journal.stai-iu.ac.id/
  • https://emas.kusumahusada.ac.id/
  • https://pab.ukmpenelitianuny.id/maxwin/
  • https://repository.stai-iu.ac.id/
  • https://pmb.kusumahusada.ac.id/site/
  • https://jurnalrho.univpasifik.ac.id/vendor/
  • https://elibrary.staiduba.ac.id/
  • https://ilkom.umuka.ac.id/
  • https://fkp.umuka.ac.id/
  • https://repository.stimaimmi.ac.id/
  • https://bpma.stimaimmi.ac.id/
  • https://rapat.alkhoziny.ac.id/
  • https://sipet.gunungmaskab.go.id/
  • https://hki.alkhoziny.ac.id/
  • https://sirbt.puskesmasciracas.com/
  • https://spmi.stimaimmi.ac.id/
  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/
  • https://upt-tipd.iaincurup.ac.id/thai/
  • https://ais.stimaimmi.ac.id/
  • https://upt-tipd.iaincurup.ac.id/
  • https://library.stieppi.ac.id/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/
  • https://uptb.iaincurup.ac.id/
  • https://spmi.stieppi.ac.id/
  • https://tkjakartatimur.khoiruummah.id/mahjong/
  • https://tkjakartatimur.khoiruummah.id/qris/
  • https://sdsumedang.khoiruummah.id/smahjong/
  • https://sukabumi.khoiruummah.id/sdana/
  • https://acteaweb.org/bet400/
  • https://acteaweb.org/pulsa/
  • https://journal.literasihukum.com/mahjong/
  • https://journal.literasihukum.com/qris/
  • https://bandar168.store/
  • https://journal.moseskotaneinstitute.com/nas/liga367-pola-rtp/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/sj/
  • https://international.unitomo.ac.id/wp-content/languages/hl/
  • https://bpm.unitomo.ac.id/wp-content/uploads/yi/
  • https://library.stieppi.ac.id/stam/
  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/slsa/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/sris/
  • https://jurnal.fpok.upgripnk.ac.id/public/sloto/
  • https://ejournalperawat.poltekkes-kaltim.ac.id/sesmi/
  • https://library.stieppi.ac.id/xthailand/
  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/xmahjong/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/xpulsa/
  • https://jurnal.fpok.ikippgriptk.ac.id/public/xqris/
  • https://ejournalperawat.poltekkes-kaltim.ac.id/xdana/
  • https://sumateraconnect.or.id
  • https://pt-ads.co.id/
  • https://bandungprecast.com/
  • https://jasaaspalhotmixbandung.my.id/
  • https://tjvs.tu.edu.iq/
  • https://ojs.al-adab-journal.com/
  • https://insightfuljournals.com/
  • https://interaction.id/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sthailand/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/smahjong//
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xthailand/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xmahjong/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/slqris/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/schitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/scahitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/slopulsa/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sloqris/
  • stmedj.com
  • inmovil.org
  • journal.fisil.ubhara.ac.id
  • https://egyptscholars.org//
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot
  • https://egyptscholars.org/slot-thailand/
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot/
  • Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot Maxwin